ข้อมูลคุณภาพน้ำ

“งานบูรณาการ คลองผดุงกรุงเกษม” ม.5/3

ฝ่าย พลานามัย

คุณภาพของน้ำในคลองผดุงกรุงเกษม (จุดสำรวจที่ 72-76)

จุดสำรวจที่ 72: สถานีสูบน้ำกรุงเกษม

วันที่

สีของน้ำ

Temp

water

pH

DO

mg/l

H2S

mg/l

BOD

mg/l

SS

mg/l

TKN

mg/l

NH3N

mg/l

NO2

mg/l

NO3

mg/l

T-P

mg/l

T-Bact

col/100ml

12-..-45

14-..-45

22-..-46

16-..-46

14-มี..-46

19-เม..-46

18-..-46

14-มิ..-46

17-..-46

15-..-46

26-..-46

เทา

ธรรมชาติ

เทา

ธรรมชาติ

เทา

ธรรมชาติ

เทา

เขียวอมเหลือง

ธรรมชาติ

ธรรมชาติ

เทา

ค่าเฉลี่ย

29.0

29.0

28.0

28.0

25.0

28.0

30.0

30.0

27.0

29.0

26.0

28.1

7.25

7.18

7.00

7.36

7.25

7.30

7.32

7.21

7.18

7.31

7.09

7.22

1.8

1.4

2.0

3.3

0.0

3.3

1.4

3.1

3.2

1.2

0.0

1.9

0.0

0.0

0.0

0.0

0.9

0.0

0.0

0.0

0.0

0.0

4.0

0.4

11

9

9

8

12

31

11

8

6

5

63

16

98

24

32

10

31

13

26

72

45

50

133

49

4.5

5.0

6.7

3.9

-

-

-

-

1.6

3.9

5.0

4.4

2.5

3.4

2.2

0.6

1.7

-

-

20

0.6

1.1

1.8

1.8

0.02

0.01

0.01

0.01

0.07

0.25

0.05

0.04

0.07

0.04

0.00

0.05

0.1

0.4

0.3

0.3

0.5

0.6

0.7

0.6

0.8

0.4

0.1

0.4

0.5

0.7

0.7

0.7

0.9

1.0

0.8

0.8

0.6

0.7

1.1

0.8

5.2E+05

3.1E+06

3.8E+05

6.5E+05

6.8E+05

4.4E+06

1.1E+05

-

4.5E+03

1.6E+04

1.1E+05

1.0E+05

                           

 

จุดสำรวจที่ 73: สถานีรถไฟกรุงเทพฯ (หัวลำโพง)

วันที่

สีของน้ำ

Temp

water

pH

DO

mg/l

H2S

mg/l

BOD

mg/l

SS

mg/l

TKN

mg/l

NH3N

mg/l

NO2

mg/l

NO3

mg/l

T-P

mg/l

T-Bact

col/100ml

12-..-45

14-..-45

22-..-46

16-..-46

14-มี..-46

19-เม..-46

18-..-46

14-มิ..-46

17-..-46

15-..-46

26-..-46

เทา

เทา

เทา

เขียว

เทา

เทา

เทา

เขียวอมเหลือง

ธรรมชาติ

เทา

เทา

ค่าเฉลี่ย

29.0

29.0

28.0

28.0

25.0

28.0

30.0

30.0

27.0

29.0

26.0

28.1

7.25

6.93

7.54

7.32

7.37

7.21

7.30

7.09

7.27

7.20

7.21

7.24

1.4

0.9

1.3

2.7

0.0

0.0

1.0

2.7

0.8

0.4

0.0

1.0

0.0

0.0

0.0

0.0

0.8

1.0

0.0

0.0

0.0

0.0

14.0

1.4

12

10

12

12

15

60

15

7

9

6

87

22

94

27

45

15

33

16

44

100

65

69

62

52

2.2

5.0

7.3

6.2

-

-

-

-

0.6

6.2

11.2

5.5

2.0

3.1

4.5

2.0

4.2

4.5

-

1.4

0.6

1.8

6.2

3.0

0.02

0.03

0.02

0.00

0.05

0.21

0.05

0.10

0.05

0.03

0.01

0.05

0.1

0.5

0.5

0.2

0.2

0.6

0.5

0.5

0.3

0.2

0.3

0.4

0.6

0.8

1.0

0.8

0.9

1.4

0.7

0.6

0.7

0.6

1.1

0.8

1.2E+06

4.6E+06

4.6E+06

5.0E+06

7.6E+05

9.9E+06

1.5E+06

-

8.9E+03

1.4E+04

1.0E+06

2.9E+06

                           

 

จุดสำรวจที่ 74: หน้ากรมวิเทศสหการ

วันที่

สีของน้ำ

Temp

water

pH

DO

mg/l

H2S

mg/l

BOD

mg/l

SS

mg/l

TKN

mg/l

NH3N

mg/l

NO2

mg/l

NO3

mg/l

T-P

mg/l

T-Bact

col/100ml

12-..-45

14-..-45

22-..-46

16-..-46

14-มี..-46

19-เม..-46

18-..-46

14-มิ..-46

17-..-46

15-..-46

26-..-46

ธรรมชาติ

เขียวอมเหลือง

ธรรมชาติ

ธรรมชาติ

เขียว

ธรรมชาติ

เขียวอมเหลือง

ธรรมชาติ

ธรรมชาติ

เขียวอมเหลือง

เขียว

ค่าเฉลี่ย

29.0

29.0

29.0

28.0

25.0

28.0

30.0

31.0

27.0

29.0

26.0

28.3

7.48

7.35

7.39

7.40

7.18

7.37

7.45

7.15

7.35

7.11

7.30

7.32

2.8

2.3

3.69

3.8

1.5

3.5

2.6

4.5

1.0

2.4

0.1

2.6

0.0

0.0

0.0

0.0

0.0

0.0

0.0

0.0

0.0

0.0

0.0

0.0

9

6

4

5

8

17

8

6

7

3

35

10

85

30

64

42

46

14

54

-

64

81

56

54

6.2

2.8

3.4

3.4

-

-

-

-

0.6

5.0

6.2

3.9

4.2

2.0

0.8

0.6

1.1

0.8

-

0.0

0.6

3.9

3.3

1.7

0.01

0.04

0.01

0.00

0.07

0.17

0.09

0.05

0.03

0.01

0.04

0.05

0.1

0.7

0.7

0.2

0.4

0.7

0.6

0.9

0.5

0.6

0.5

0.5

0.4

0.6

0.2

0.3

0.9

0.3

0.3

0.6

0.4

0.4

1.3

0.5

1.0E+06

1.6E+05

6.0E+04

7.0E+04

3.0E+05

2.9E+04

1.4E+04

-

7.5E+04

9.5E+04

3.0E+05

2.1E+05

                           

 

จุดสำรวจที่ 75: ตลาดเทเวศร์

วันที่

สีของน้ำ

Temp

water

pH

DO

mg/l

H2S

mg/l

BOD

mg/l

SS

mg/l

TKN

mg/l

NH3N

mg/l

NO2

mg/l

NO3

mg/l

T-P

mg/l

T-Bact

col/100ml

12-..-45

14-..-45

22-..-46

16-..-46

14-มี..-46

19-เม..-46

18-..-46

14-มิ..-46

17-..-46

15-..-46

26-..-46

ธรรมชาติ

ธรรมชาติ

ธรรมชาติ

ธรรมชาติ

เขียว

ธรรมชาติ

ธรรมชาติ

ธรรมชาติ

เทา

ธรรมชาติ

เขียว

ค่าเฉลี่ย

29.0

29.0

29.0

28.0

25.0

28.0

30.0

31.0

27.0

29.0

26.0

28.3

7.33

7.11

7.40

7.35

7.24

7.36

7.44

7.31

7.14

7.08

7.32

7.28

3.3

4.3

4.6

5.1

3.8

2.7

3.1

5.6

0.4

5.0

0.0

3.4

0.0

0.0

0.0

0.0

0.0

0.0

0.0

0.0

0.0

0.0

0.5

0.04

4

4

3

4

8

24

8

5

24

4

36

11

83

28

23

57

88

21

60

131

67

57

15

57

1.1

1.1

1.1

2.8

-

-

-

-

0.7

3.4

2.2

1.8

0.8

0.8

0.3

0.6

0.3

0.0

-

0.0

0.0

0.8

0.3

0.4

0.01

0.02

0.03

0.00

0.07

0.23

0.08

0.05

0.05

0.02

0.03

0.05

0.1

0.3

0.5

0.1

0.5

0.7

0.6

0.9

0.3

0.3

0.2

0.4

0.4

0.3

0.2

0.4

0.4

0.4

0.3

0.4

1.0

0.4

1.7

0.5

1.6E+05

1.1E+05

3.8E+04

4.5E+05

9.6E+04

1.8E+05

4.4E+04

-

8.9E+04

7.1E+04

9.6E+04

1.3E+05

                           

 

จุดสำรวจที่ 76: ประตูระยายน์เทเวศน์

วันที่

สีของน้ำ

Temp

water

pH

DO

mg/l

H2S

mg/l

BOD

mg/l

SS

mg/l

TKN

mg/l

NH3N

mg/l

NO2

mg/l

NO3

mg/l

T-P

mg/l

T-Bact

col/100ml

12-..-45

14-..-45

22-..-46

16-..-46

14-มี..-46

19-เม..-46

18-..-46

14-มิ..-46

17-..-46

15-..-46

26-..-46

ธรรมชาติ

ธรรมชาติ

ธรรมชาติ

ธรรมชาติ

เขียว

ธรรมชาติ

ธรรมชาติ

ธรรมชาติ

ธรรมชาติ

ธรรมชาติ

เขียว

ค่าเฉลี่ย

29.0

29.0

29.0

28.0

25.0

28.0

30.0

30.0

27.0

29.0

26.0

28.2

7.35

7.24

7.11

7.40

7.16

7.39

7.55

7.28

7.26

7.32

7.25

7.3

4.1

5.1

4.4

4.1

3.7

3.9

3.2

5.0

0.9

6.0

0.1

3.7

0.0

0.0

0.0

0.0

0.0

0.0

0.0

0.0

0.0

0.0

0.0

0.0

3

2

3

4

7

14

5

4

4

3

16

6

104

26

30

53

87

22

63

112

66

-

30

59

1.1

1.1

2.8

3.4

-

-

-

-

1.6

2.8

1.7

2.1

0.8

0.8

0.0

0.0

0.0

0.0

-

0.6

0.8

0.3

0.0

0.3

0.03

0.02

0.02

0.03

0.00

0.22

0.08

0.04

0.04

0.02

0.03

0.05

0.1

0.1

0.1

0.7

0.9

0.7

0.6

1.0

0.7

0.3

0.2

0.5

0.3

0.1

0.1

0.4

0.3

0.4

0.2

0.4

0.3

0.3

0.9

0.3

9.8E+04

4.5E+04

3.0E+04

8.4E+04

6.0E+03

9.0E+04

8.0E+04

-

2.5E+03

1.4E+04

5.6E+04

5.1E+04

                           

 

หมายเหตุ

Temp water = อุณหภูมิของน้ำ (°C)

pH = ค่าความเป็นกรด-ด่าง

DO = Dissolved Oxygen

H2S = ซัลไฟล์

BOD = Biochemical Oxygen Demand

SS = Suspended Solids

TKN = Nitrogen ในรูป TNK (Total Kjeldahl Nitrogen)

NH3N = Nitrate Nitrogen

NO2 = Nitrogen Dioxine

NO3 = Nitrogen Trioxine

T-P = Total Phosphorus


 

ผลการวิเคราะห์คุณภาพของน้ำ

ผลการสำรวจค่าเฉลี่ยของน้ำ 5 สถานี (ตั้งแต่จุดสำรวจที่ 72-76)

 

Temp

water

pH

DO

mg/l

H2S

mg/l

BOD

mg/l

SS

mg/l

TKN

mg/l

NH3N

mg/l

NO2

mg/l

NO3

mg/l

T-P

mg/l

T-Bact

col/100ml

28.1

28.1

28.3

28.3

28.2

7.22

7.24

7.32

7.28

7.3

1.9

1.0

2.6

3.4

3.7

0.4

1.4

0.0

0.0

0.0

16

22

10

11

6

49

52

54

57

59

4.4

5.5

3.9

1.8

2.1

1.8

3.0

1.7

0.4

0.3

0.05

0.05

0.05

0.05

0.05

0.4

0.4

0.5

0.4

0.5

0.8

0.8

0.5

0.5

0.3

1.0E+06

2.9E+06

2.1E+05

1.3E+05

5.1E+04

28.2

7.27

2.52

0.36

13

54.2

3.54

1.36

0.05

0.4

0.5

2.4E+05

                       

 

ค่ามาตรฐาน

Temp water < 40°C

pH < 5-9

H2S < 1 mg/l

BOD < 20 mg/l Suspended

Solid (SS) < 30 mg/l

TKN < 35 mg/l

Nitrate Nitrogen (NO3-N) < 10 mg/l

Total Phosphorus < 2 mg/l                             


จากตารางสามารถสรุปข้อมูลได้ดังนี้

1.      อุณหภูมิของน้ำ ของจุดสำรวจทั้ง 5 บริเวณมีอุณหภูมิใกล้เคียงกัน และอุณหภูมิของน้ำก็อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานด้วย

2.      ค่าความเป็นกรด-ด่างของน้ำ  ของจุดสำรวจทั้ง 5 บริเวณมีค่าใกล้เคียงกัน

 

 

ปัญหาน้ำเสีย

ด้วยเหตุที่ว่า น้ำหมุนเวียนเป็นวัฏจักร ไม่สูญหาย แต่จะอยู่ในลักษณะที่แตกต่างกันไป มนุษย์จึงใช้น้ำกันอย่างสะดวกสบาย และค่อนข้างฟุ่มเฟือย ด้วยความรู้สึกที่ว่าน้ำไม่มีวันหมดสิ้น จึงทำให้มนุษย์ละเลยและมองข้ามคุณค่าของน้ำ ซึ่งนอกจากจะไม่สงวนรักษาให้อยู่ในสภาพที่ดีแล้ว ยังกลับทำลายโดยการทิ้งสิ่งโสโครกต่าง ๆ ทำให้น้ำเน่าเสีย จนกลายเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมอยู่ในขณะนี้ในบางแห่ง

น้ำเสียเป็นผลมาจากการใช้น้ำ เพื่อการอุปโภคบริโภคของมนุษย์ ทั้งในกิจวัตรประจำวัน อุตสาหกรรม และการเกษตรกรรม ฯลฯ แหล่งกำเนิดน้ำเสีย สามารถแบ่งได้เป็น 4 เภทใหญ่ ๆ คือ

1.     น้ำเสียชุมชน (Domestic Wastewater) ได้แก่ น้ำเสียที่เกิดจากกิจกรรมต่าง ๆ ของประชาชนที่อาศัยในชุมชน เช่น น้ำเสียจากบ้านเรือน อาคาร ที่พักอาศัย โรงแรม โรงพยาบาล โรงเรียน ร้านค้า อาคารสำนักงาน เป็นต้น น้ำเสียชุมชนนี้ส่วนใหญ่จะมีสิ่งสกปรก ในรูปของสารอินทรีย์ (Organic Matters) เป็นองค์ประกอบที่สำคัญ และเป็นสาเหตุสำคัญของการทำให้คุณภาพน้ำในแหล่งน้ำเสื่อมโทรมลง

2.     น้ำเสียจากอุตสาหกรรม (Industrial Wastewater) ได้แก่ น้ำเสียที่เกิดจากกระบวนการอุตสาหกรรมตั้งแต่ขั้นตอนการล้างวัตถุดิบ กระบวนการผลิต การล้างวัสดุอุปกรณ์ และเครื่องจักรกล ตลอดจนการทำความสะอาดโรงงาน ลักษณะของน้ำเสียประเภทนี้ จะแตกต่างกันไปตามประเภทของวัตถุดิบ กระบวนการผลิต รวมทั้งระบบควบคุมและบำรุงรักษา องค์ประกอบของน้ำเสียประเภทนี้ส่วนใหญ่จะมีสิ่งสกปรก ที่เจือปนอยู่ในรูปสารอินทรีย์ (Organic Matter) สารอนินทรีย์ (Inorganic Matters) อาทิ สารเคมี โลหะหนัก เป็นต้น

3.     น้ำเสียเกษตรกรรม (Agricultural Wastewater) ได้แก่ น้ำเสียที่เกิดจากกิจกรรมทางการเกษตร ครอบคลุมถึงการเพาะปลูกและการเลี้ยงสัตว์ ลักษณะของน้ำเสียประเภทนี้จะมีสิ่งสกปรกที่เจือปนอยู่ ทั้งในรูปของสารอินทรีย์ Organic Matters) และสารอนินทรีย์ (Inorganic Matters) ขึ้นอยู่กับลักษณะการใช้น้ำ การใช้ปุ๋ย และสารเคมีต่าง ๆ ถ้าหากเป็นน้ำเสียจากพื้นที่เพาะปลูก จะพบสารอาหารจำพวกไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โปรแตสเซียม และสารพิษต่าง ๆ ในปริมาณสูง แต่ถ้าเป็นน้ำเสียจากกิจการการเลี้ยงสัตว์ จะพบสิ่งสกปรกในรูปของสารอินทรีย์เป็นส่วนมาก

4.     น้ำเสียที่ไม่ทราบแหล่งกำเนิด (Non-point Source Wastewater) ได้แก่ น้ำฝน และน้ำหลากที่ไหลผ่านและชะล้างความสกปรกต่าง ๆ เช่น กองขยะมูลฝอย แหล่งเก็บสารเคมี ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ และคลองระบายน้ำ


 

ผลกระทบของน้ำเสียต่อสิ่งแวดล้อม

ปัจจุบันความรู้หรือความเจ็บป่วยที่เกี่ยวข้องกับน้ำ (Water-related diseasesแบ่งออกได้ 4 กลุ่ม ใหญ่ๆ ดังนี้

1.     Waterborne diseases เป็นโรคหรือความเจ็บป่วยที่มีน้ำเป็นสื่อในการแพร่กระจาย เกิดจากการดื่มน้ำที่ปนเปื้อนด้วยเชื้อโรคประเภทต่างๆ ตลอดจนสารเคมี โลหะหนัก รวมทั้งการปรุงอาหารโดยใช้น้ำไม่สะอาดที่ปนเปื้อนด้วยเชื้อโรคและสารเหล่านี้ มักจะเป็นอาการอุจจาระร่วงทีเดจากเชื้อโรคจำนวนมาก และอาการป่วยด้วยโรคอื่นๆ คือ บิด ไทฟอยด์ ตับอักเสบ

2.     Water-washed diseases โรคหรือความเจ็บป่วยที่เนื่องมาจากความขาดแคลนน้ำสะอาด ในการชำระล้างทำความสะอาดร่างกายและเสื้อผ้าเรื่องนุ่งห่ม มักจะเป็นอาการโรคติดเชื้อตามเยื้อบุตา ผิวหนัง ภายนอกร่างกาย เช่น ริดสีดวงตา หิด เหา แผลตามผิวหนัง เป็นต้น

3.     Water-based diseases โรคหรือความเจ็บป่วยเนื่องจากเชื้อโรคหรือสัตว์นำโรคที่มีวงจรชีวิตอาศัยในน้ำ ที่สำคัญคือ พยาธิใบไม้ในตับ พยาธิใบไม้ในเลือด เป็นต้น

4.     Water-related insect vectors โรคหรือความเจ็บป่วยเนื่องมาจากแมลงเป็นพาหะนำโรค ที่ต้องอาศัยน้ำในการแพร่พันธุ์เป็นสำคัญ พาหะนำโรคส่วนใหญ่เกิดจากยุง เช่น มาลาเลีย ไข้เลือดออก โรคเท้าช้าง ไข้เหลือง เป็นต้น

กลุ่มโรคหรือความเจ็บป่วยที่เกี่ยวข้องกับน้ำ (Water-related diseases) ทั้งหมดที่กล่าวมา เป็นผลมาจากการปนเปื้อนทั้งจุลินทรีย์ และ/หรือ สารเคมี ทั้งในแหล่งน้ำผิวดิน แหล่งน้ำใต้ดิน ซึ่งเป็นแหล่งน้ำสำคัญที่มนุษย์จะต้องสัมผั้สและนำมาใช้ในการอุปโภคบริโภค

 

แนวทางการลดปริมาณน้ำเสีย

         ชีวิตเราเกี่ยวข้องกับการใช้น้ำ ถ้าเรารู้จักวิธีใช้ที่ถูกต้อง จะช่วยลดค่าใช้จ่ายในครอบครัว เช่น ลดค่าน้ำประปา ลดค่ากระแสไฟฟ้า ลดค่าเครื่องสุขภัณฑ์ ท่านสามารถลองปฏิบัติตามข้อแนะนำต่อไปนี้

การอาบน้ำ

1.     ควรอาบน้ำอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง เช้า เย็นหรือก่อนนอน หรือภายหลังจากการออกกำลังกาย 30 นาที และควรอาบน้ำตามหลักความประหยัดดังนี้

2.     ใช้น้ำ 1-2 ขันชโลมร่างกายเปียกให้ทั่ว ใช้ฟองน้ำหรือผ้าบางๆ เช็ดถูร่างกาย และจึงใช้น้ำ 1-2 ขันชำระร่างกายอีกรั้ง

3.      นำสบู่ชนิดที่เป็นด่างอ่อน ไม่เจือสีฉูดฉาด และมีกลิ่นไม่แรงเกินไป

4.     เริ่มฟอกสบู่ที่มือก่อน ล้างมือให้สะอาดแล้วจึงฟอกสบู่ที่ใบหน้า และลำคอแล้วล้างสบู่ออก จากนั้นจึงฟอกสบู่ที่ลำตัว แขน ขา ไปตามลำดับ พร้อมทั้งบีบนวดเบาๆ ที่กล้ามเนื้อส่วนต่างๆ

5.      อาบน้ำด้วยฝักบัว ระหว่างเช็ดถูร่างกาย หรือฟอกสบู่ให้ปิดน้ำก่อนทุกครั้ง

6.     อาบน้ำในอ่างน้ำ ควรชำระร่างกายตามที่กล่าวในข้อแรกก่อน ถ้าอ่างน้ำมีระบบน้ำร้อนน้ำเย็น ควรเปิดน้ำเย็นก่อน แล้วจึงเปิดน้ำร้อน ปรับอุณหภูมิ ผสมสบู่เหลวแล้วจึงเทลงไปแช่ตัวในอ่าง แล้วออกจากอ่างน้ำมาอาบน้ำด้วยขันหรือฝักบัว เพื่อชำระร่างกาย น้ำสบู่อาจใช้ร่วมกันได้สำหรับสมาชิกในครอบครัว

7.     การอาบน้ำบ่อยเกินไป มากเกิน หรือนานเกินไป หรือฟอกสบู่มากเกินไป จะทำให้ผิวหนังซีดเซียว ผิวหนังอักเสบ ให้ แบคทีเรียบางชนิดที่ช่วยป้องกันและทำลายเชื้อโรคอื่นๆ ที่มีอยู่ตามผิวหนังหลุดหรือหมดไป ทำให้ร่างการขาดเกราะป้องกันเชื้อโรคได้

การแปรงฟัน

เพื่อรักษาสุขภาพในช่องปากไม่ให้เกิดกลิ่นปาก และป้องกันคราบหินปูนติดฟัน ช่วยให้สุขภาพของเหงือกและฟันดี ควรแปรงฟันอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง หลังจากตื่นนอนและก่อนนอน จึงมีวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธีดังนี้

1.     เลือกขนาดของแปรงให้พอเหมาะ ขนแปรงต้องอ่อนนุ่ม มีด้ามที่กระชับเหมาะมือมีปลายด้ามโด้งมน ยาสีฟันเลือกเนื้อละเอียด

2.     ก่อนแปรงควรกลั้วน้ำในปากก่อนแล้วบ้วนทิ้ง ควรใช้น้ำที่ตักใส่แก้วดีกว่าเปิดจากก๊อกน้ำโดยตรง เริ่มแปรงจากฟันหน้าด้านบนและล่างโดยการปัดขนแปรงขึ้นและลง การปัดขนแปรงขึ้นลงต้องสะบัดข้อมือไปมาเพื่อช่วยให้ขนแปรงนวดเหงือกเบาๆ หลังจากนั้นจึงแปรงด้านใน การแปรงฟันแบบชักแปรงไปมาจะทำให้เคลือบฟันและตัวฟันสึกได้

3.     บ้วนปากด้วยน้ำหลายๆ ครั้ง ล้างแปรงให้สะอาดผึ่งให้แห้ง เศษอาหารที่ติดตามซอกฟันที่แปรงออกยาก ก่อนแปรงฟันควรใช้เส้นใยขัดฟันก่อน ไม่ควรใช้ไม้จิ้มฟันเพราะจะทำให้ฟันห่าง หลังจากรับประทานอาหารควรบ้วนปากสัก 2-3 ครั้ง ระหว่างแปรงฟันไม่ควรเปิดน้ำทิ้งไว้

การล้างจาน

การล้างถ้วยชามและภาชนะในครัวเรือน มีวิธีการล้างที่ถูกต้องดังนี้

1.     ภาชนะหรือถ้วยจาน หากมีเศษอาหารติดอยู่ให้เขี่ยลงในถังขยะก่อน ส่วนคราบมันควรใช้กระดาษหนังสือพิมพ์หรือกระดาษที่ ใช้แล้วเช็ดออก หรือเศษผ้าเช็ดออก

2.     เปิดน้ำใส่ภาชนะล้าง เพียงเล็กน้อย เพื่อล้างคราบสกปรกที่เหลือ หลังจากนั้นจึงใช้น้ำยาล้างจาน ไม่ควรใช้ผงซักฟอก เพราะมีความเป็นด่างมาก และต้องล้างหลายๆ ครั้งทำให้สิ้นเปลืองน้ำมาก เมื่อฟอกถ้วยชามเสร็จแล้วล้างในภาชนะบรรจุ น้ำสะอาดที่ 1 และล้างอีกครั้งในภาชนะบรรจุน้ำที่ 2 แล้วจึงผึ่งในที่เก็บจานให้แห้ง

3.     น้ำที่ใช้ล้างจานโดยวิธีนี้ยังมีคุณภาพดี สามารถใช้ล้างถ้วยชามได้อีกอย่างน้อย 1 ครั้ง และยังนำไปรดน้ำต้นไม้ได้ เพราะจะมีแร่ธาตุที่พืชต้องการเจือปนอยู่ด้วย

การซักผ้า

การซักผ้าที่ถูกวิธีทำให้งานซักผ้าอาจเป็นกิจกรรมอย่างหนึ่งที่ทำให้เราสนุกสนาน ช่วยให้ปลอดภัย และประหยัดได้อย่างแปลกใจ การซักผ้าปกตินอกเหนือจากเทคนิคพิเศษ เช่นการซักแห้งควรปฏิบัติตามขั้นตอนต่อไปนี้

1.     ควรมีจำนวนผ้าที่ซักประมาณ 15-20 ชิ้น ถ้าจำนวนมากเกินหรือน้อยเกินไป ทำให้เกิดความสิ้นเปลืองหลายประการ ถ้าจำนวนพอเหมาะพอดี โดยเฉพาะซักมือเป็นการออกกำลังกายที่ดี

2.     คัดเลือกแยกประเภทของผ้าที่ซัก เช่น ผ้าหนาหรือผ้าบาง ผ้าสกปรกมากหรือสกปรกน้อย สีตกหรือไม่ตก

3.     ต้องใช้ผงซักฟอกตามปริมาณพอดีกับผ้าที่จะซัก เติมน้ำใส่ผงซักฟอกไว้ประมาณ 3 นาที ไม่ควรใช้มือตีผงซักฟอกทันที เสื้อผ้าที่สกปรกน้อยสีไม่ตก แช่ในน้ำผงซักฟอก 10-15 นาที และขยี้ผ้าเบาๆ แล้วจึงนำออกไปซักในน้ำผงซักฟอกอีกใบหนึ่ง อาจแปรงผ้าเบาๆ บริเวณที่ความสกปรกยังเกาะติดอยู่

4.     ใช้มือลูบให้ผงซักฟอกออก แล้วล้างในน้ำสะอาด 1-2 ครั้ง ยกผ้าให้น้ำไหลคืนสู่ภาชนะ แล้วนำไปแขวนตากหรือผึ่งลม ไม่ควรตากผ้าในที่แสงแดดแผดกล้านานเกินไป

5.     ผ้าที่สกปรกน้อย นำไปซักในภาชนะน้ำผงซักฟอกที่ 2 และนำผ้าสกปรกมาก แช่ไว้ในภาชนะน้ำผงซักฟอกที่ 1 เมื่อซักผ้าสกปรกน้อยแล้วจึงซักผ้าที่สกปรกมากตาม

6.     เมื่อใช้น้ำยาปรับสภาพผ้า ใช้ในการซักน้ำขั้นตอนสุดท้าย ส่วนผ้าสีตกควรเติมเกลือ หรือน้ำส้มสายชูเล็กน้อย จะช่วยให้สีผ้าดูสดใสขึ้น

7.     น้ำผงซักฟอกที่เหลือในภาชนะที่ 1 และ 2 ใช้กับผ้ากันเปื้อนอื่นๆ อาจเป็นผ้าเช็ดเท้าหรือผ้าถูบ้าน อาจใช้น้ำที่เหลือขัดพื้นก็ได้

8.     การซักผ้าด้วยเครื่องซักผ้า มีหลักการคัดเลือกผ้าและจัดแยกประเภทเช่นเดียวกับการซักผ้าด้วยมือ เลือกใช้ระบบหรือ รายการซักที่เหมาะสม กับคุณสมบัติของผ้า จำนวนผ้า และความสกปรก การใช้ผงซักฟอกหรือน้ำยาซักฟอกต้องมีปริมาณพอดี

9.     เครื่องซักผ้าที่ปรับอุณหภูมิได้ ต้องปรับให้พอดีเพื่อช่วยให้ถนอมเนื้อผ้า ลดค่าไฟฟ้าและช่วยให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด

10.  ผ้าที่ตาก หรือผึ่งไว้เกือบแห้งแล้ว พอมีความชื้นอยู่บ้าง ก็ควรนำไปรีดถ้าใช้น้ำยาผ้าเรียบก็จะไม่เกิดคราบน้ำยาจับ

11.  การรีดผ้า รีดจากผ้าบางๆ ใช้ความร้อนต่ำๆ เรื่อยไปจนถึงผ้าหนา ใช้ความร้อนเพิ่ม เมื่อใกล้เสร็จแล้วดึงปลั๊กออก ใช้ ความร้อนที่สะสมไว้ในเตารีด ไม่ควรรีดผ้าในปริมาณมากเกินไปหรือน้อยเกินไป

การใช้ห้องสุขา

1.     ห้องสุขามีความสำคัญต่อทุกคน ใช้ในการขับถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ ควรดูแลรักษาความสะอาดเสมอ

2.      ควรแยกห้องสุขากับห้องอาบน้ำออกจากกันเพื่อความสะดวก

3.      การใช้โถสุขาแบบนั่งยอง ให้ใช้แบบโถเคลือบรักษาความสะอาดง่ายกว่าแบบหล่อปูน

4.     การติดตั้งต้องมีทักษะพอสมควร ต้องวางให้ส่วนคอห่านอยู่ในระดับที่เหมาะสมเพื่อให้น้ำขังคอห่านได้สนิท ป้องกันกลิ่นเหม็นแพร่ออกมาจากถังเกรอะ

5.      โถส้วมแบบชักโครก มีชนิดตักน้ำราดและมีถังเก็บน้ำชำระ ส่วนมากโถแบบนี้มีฝาปิด

6.     ถ้าเลือกใช้แบบที่มีถังเก็บน้ำ ควรเลือกระบบประหยัดน้ำหรือใส่ขวดบรรจุน้ำลงไปในถังขวดจะไปแทนที่น้ำ ทำให้ระดับน้ำสูงขึ้น และดันให้ลูกลอยปิดวาล์วน้ำเร็วขึ้น การใช้น้ำชำระทุกครั้งจะทำให้ประหยัดน้ำได้อย่างน้อย เท่ากับน้ำที่บรรจุอยู่ในขวด

7.     การรักษาความสะอาดห้องสุขาและห้องอาบน้ำ ควรใช้แปรงสำหรับขัดถูคราบสบู่หรือหินปูนทุกวันหรือสัปดาห์ละ 1-2 ครั้ง ไม่จำเป็นต้องใช้น้ำยาเคมีใดๆเพราะอาจทำลายจุลินทรีย์ที่อยู่ในถังเกรอะและถังกรองให้ตายได้ ทำให้กระบวนการย่อยสลายกากตะกอน และสิ่งปฏิกูลผิดปกติ ทำให้เกิดปัญหาถังสุขาเต็มหรือท่อสุขาอุดตันบ่อยๆ

การโกนหนวด

ควรใช้ภาชนะรองน้ำที่ใช้สำหรับโกนหนวด  ซึ่งใช้น้ำจริงประมาณครึ่งลิตรเท่านั้น  แต่ถ้าเปิดน้ำทิ้งไว้โกนหนวดในเวลาเพียง 2 นาที จะใช้น้ำถึง 18 ลิตร

การรดน้ำต้นไม้

ไม่ควรใช้สายยาง แต่ควรใช้กระป๋องฝักบัวค่อยๆรดที่ละต้น เพราะจะเป็นการช่วยลดปริมาณน้ำและเป็นการออกกำลังกายไปในตัว

การล้างรถ

น้ำที่จะนำมาล้างควรจะใส่ถังแล้วใช้ผ้าชุบน้ำในถังมาเช็ดถูซึ่งจะใช้น้ำประมาณ 2 ถังเท่านั้นก็ทำให้รถสะอาดได้

การตรวจสอบท่อแตก-รั่ว

เป็นวิธีการหนึ่งที่จะช่วยลดการเกิดน้ำเสีย เพราะจุดรั่วขนาด 0.8 มม. ทำให้ต้องเสียน้ำถึง 900 ลิตรต่อวัน และจุดรั่ว ขนาด 3.2 มม. อาจจะทำให้สูญเสียน้ำมากกว่าวันละ 10,000 ลิตร น้ำที่สูญเสียนี้จะกลายเป็นน้ำเสีย ดังนั้นต้องมั่นใจว่าท่อประปาภายในบ้านอยู่ในสภาพที่ดีไม่แตกชำรุด ถ้าท่อเก่าเป็นสนิมอาจเป็นสาเหตุทำให้ท่อแตกรั่ว

การตรวจสอบว่าท่อน้ำภายในบ้านอยู่ในสภาพดีหรือไม่โดยการปิดก๊อกน้ำทุกตัวภายในบ้านแล้วดูตัวเลขที่มาตราวัดน้ำ ฟังเสียงและสังเกตดูการเคลื่อนไหวของตัวเลข ถ้าท่อไม่แตกรั่วมาตราวัดน้ำก็จะไม่มีเสียง เครื่องจะไม่ทำงานและตัวเลขจะอยู่คงที่ 

ในกรณีที่ที่ตรวจพบว่าท่อน้ำภายในบ้านเกิดแตกหรือรั่ว สิ่งที่ควรทำอย่างรีบด่วน คือ ปิดประตูน้ำที่หน้ามาตรวัดน้ำแล้วจัดแจงซ่อมจุดที่รั่วนั้นโดยด่วน

 

อ้างอิง

1.      รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย .. 2542 กรมควบคุมมลพิษ

2.      นโยบายและแผนการส่งเสริมความรู้เรื่องสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ .. 2540 - 2559

3.      ความรู้เรื่องสิ่งแวดล้อม (สส.)

4.      ทำเนียบ ธุรกิจสัตว์น้ำ อาหารสัตว์น้ำ และอุปกรณ์สำหรับสัตว์น้ำ สถาบันวิจัย ทรัพยากรทางน้ำ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

5.      สำนักการระบายน้ำกรุงเทพฯ

6.      คู่มือ การป้องกันน้ำเสีย กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม